นพ. ประกาศิต คูสุวรรณ
นพ. ประกาศิต คูสุวรรณ
ว.51293
Brain Specialist
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประสบการณ์ทำงาน 9 ปี 660 เคส
ประวัติการศึกษา
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการศึกษา: - เกียรตินิยมอันดับ 1 แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - อายุรแพทย์และแพทย์ประจำบ้าน สาขาประสาทวิทยา ความเชี่ยวชาญโรคปวดหัว: - โรคไมเกรน: ไมเกรนเบื้องต้น, ไมเกรนเรื้อรัง, ไมเกรนดื้อยา, ไมเกรนติดยา - โรคปวดหัวทั่วไป: ปวดหัวคลัสเตอร์, ปวดหัวชนิดตึงตัว (Tension) ความเชี่ยวชาญโรคร่วม: - โรคจิตเวช: โรควิตกกังวล, โรคซึมเศร้า - อื่นๆ: ออฟฟิศซินโดรม, โรคลมชัก, โรคปวดเรื้อรังทั่วร่างกาย “การรักษาผู้ป่วยโรคปวดศีรษะไมเกรนให้ประสบผลสำเร็จได้นั้น นอกจากจะต้องอาศัยการรักษาด้วยยาหรือวิธีการต่างๆแล้ว doctor-patient communication ที่ดีก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นกันช่วงเวลาในการตรวจ”
วีดีโอแนะนำคุณหมอ
แนะนำแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

พญ. สุชาดา สังเพ็ชร
ประวัติการศึกษา: - แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - แพทย์เฉพาะทางด้านระบบประสาทและสมอง ความเชี่ยวชาญโรคปวดหัว: - โรคไมเกรนทุกรูปแบบ - โรคปวดหัวทั่วไป, ปวดหัวคลัสเตอร์, ปวดหัวชนิดตึงตัว (Tension), โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า ความเชี่ยวชาญโรคร่วม: - โรคจิตเวช: โรควิตกกังวล - อื่นๆ: ออฟฟิศซินโดรม, โรคปวดเรื้อรังทั่วร่างกาย “มีคนไข้จำนวนมากที่เป็นไมเกรนเรื้อรังมานานกว่า 5-10 ปี ก็ยังรักษาไม่หาย นั่นเป็นเพราะว่าไม่ได้รับการรักษา หรือวินิจฉัยจากหมอสมองโดยตรง เพราะการรักษาไมเกรนที่ดี คือ การที่เข้าใจอาการผู้ป่วยอย่างแท้จริง และยาแก้ปวดไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุดสำหรับไมเกรนเสมอไป"

พญ. ชนิตา ราชบัณฑิต
ประวัติการศึกษา: - แพทยศาสตร์ มหาวิทยาขอนแก่น - สาขาประสาทวิทยา แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สมาชิกวิชาชีพ: - สภาแพทย์แห่งประเทศไทย - สมาชิกวิทยาลัยแพทย์พระราชทานแห่งประเทศไทย - สมาชิกสมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย - สมาชิกสมาคมปวดหัวนานาชาติ ความเชี่ยวชาญโรคปวดหัว: - โรคไมเกรน: ไมเกรนเบื้องต้น, ไมเกรนเรื้อรัง, ไมเกรนติดยา, ไมเกรนประจำเดือน - โรคปวดหัวทั่วไป, ปวดหัวคลัสเตอร์, ปวดหัวชนิดตึงตัว (Tension), โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า ความเชี่ยวชาญโรคร่วม: - โรคจิตเวช: โรคซึมเศร้า - อื่นๆ: นอนไม่หลับ, โรคลมชัก “การรักษาไมเกรน ไม่ได้มีแค่การกินยาแก้ปวด แล้วรอให้หาย จำเป็นต้องใช้ความรู้และความเข้าใจในตัวโรคด้วย ซึ่งแต่ละคนก็มีอาการ มีสิ่งกระตุ้นไม่เหมือนกัน การให้คำปรึกษา ปรับพฤติกรรม และให้ยาที่เหมาะสมกับแต่ละคนเป็นเรื่องสำคัญ มาให้เราเป็นเพื่อนร่วมทางแล้วเอาชนะไมเกรนไปด้วยกันนะคะ”

นพ. ธีรดนย์ พินิชกชกร
ประวัติการศึกษา: - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - สาขาประสาทวิทยา แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญโรคปวดหัว: - โรคไมเกรน: ไมเกรนเบื้องต้น - โรคปวดหัวทั่วไป "ผู้ป่วยไมเกรนมีความหลากหลาย จำเป็นต้องได้รับการประเมินอย่างรอบด้าน ทั้งโรคร่วม ปัจจัยกระตุ้น ยาที่เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย ฯลฯ เพื่อความสำเร็จของการดูแลรักษา”
Free Download Application
ดาวน์โหลด Application Smile Migraine ได้เเล้ววันนี่ที่ระบบปฏิบัติการ
Android และ ระบบปฏิบัติการ IOS